การจัดการศึกษา
รายวิชาระดับปริญญาบัณฑิต วท.บ.(เทคนิคการแพทย์) ที่ภาควิชาฯ รับผิดชอบ
รายวิชาบังคับ (16 หน่วยกิต) (21 หน่วยกิต ในปีการศึกษา 2558
1. กลุ่มวิชาจุลชีววิทยาคลินิก (8 หน่วยกิต) (11 หน่วยกิต ในปีการศึกษา 2558) ดังนี้
- จุลชีววิทยาพื้นฐาน (2 หน่วยกิต)
- แบคทีเรียวิทยาและปฏิบัติการแบคทีเรียวิทยา (4 หน่วยกิต)
- จุลชีววิทยาคลินิกและปฏิบัติการจุลชีววิทยาคลินิก (2 หน่วยกิต)
- ปฏิบัติการจุลชีววิทยาพื้นฐาน (1 หน่วยกิต: จะเปิดสอนปีการศึกษา 2557)
- ไวรัสวิทยาและกีณวิทยาคลินิก และปฏิบัติการไวรัสวิทยาและกีณวิทยาคลินิก (2 หน่วยกิต: จะเปิดสอนปีการศึกษา 2558)
2. กลุ่มวิชาวิทยาภูมิคุ้มกัน (4 หน่วยกิต)
- วิทยาภูมิคุ้มกันคลินิก และปฏิบัติการวิทยาภูมิคุ้มกันคลินิก (4 หน่วยกิต)
3. กลุ่มวิชาโลหิตวิทยาภูมิคุ้มกัน (4 หน่วยกิต) (6 หน่วยกิต ในปีการศึกษา 2558)
- โลหิตวิทยาภูมิคุ้มกัน 1 และปฏิบัติการโลหิตวิทยาภูมิคุ้มกัน 1 (2 หน่วยกิต)
- โลหิตวิทยาภูมิคุ้มกัน 2 และปฏิบัติการโลหิตวิทยาภูมิคุ้มกัน 2 (2 หน่วยกิต)
- วิทยาศาสตร์การบริการโลหิตและปฏิบัติวิทยาศาสตร์การบริการโลหิต 1 และ 2 (6 หน่วยกิต / บรรยาย 4 หน่วยกิตและปฏิบัติการ 2 หน่วยกิต: จะเปิดสอนในปีการศึกษา 2558)
รายวิชาเลือก (8 หน่วยกิต)
1. การใช้แมคโครโมเลกุลทางการแพทย์ (3 หน่วยกิต)
2. เทคนิคพื้นฐานทางจุลชีววิทยา (2 หน่วยกิต)
3. ส่วนประกอบของเลือด (2 หน่วยกิต)
4. การประกันคุณภาพและการบริหารจัดการความเสี่ยงในงานธนาคารเลือด (1 หน่วยกิต)
รายวิชาการศึกษาทั่วไป (14 หน่วยกิต)
1. สุขภาวะที่ดี (3 หน่วยกิต)
2. ภูมิคุ้มกันชีวิต (3 หน่วยกิต)
3. การดูแลสุขภาพและการป้องกันจากโรคติดเชื้อในชีวิตประจำวัน (3 หน่วยกิต)
4. การดูแลสุขภาพและการป้องกันจากโรคติดเชื้อในชีวิตประจำวัน:สอนเป็นภาษาอังกฤษ
(3 หน่วยกิต)
5. คอมพิวเตอร์สำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ (2 หน่วยกิต)
ระดับปริญญาบัณฑิต (สาขาเทคนิคการแพทย์) ที่ภาควิชาฯ ร่วมรับผิดชอบ (27 หน่วยกิต)
1. ความสัมพันธ์ทางคลินิก (2 หน่วยกิต) ประกอบด้วย
- ความสัมพันธ์ทางคลินิก 1 (1 หน่วยกิต)
- ความสัมพันธ์ทางคลินิก 2 (1 หน่วยกิต)
2. รายวิชากลางที่ร่วมผิดชอบในหลักสูตรฯ (4 หน่วยกิต) ประกอบด้วย
- สัมมนาทางเทคนิคการแพทย์ (1 หน่วยกิต)
- เวชศาสตร์ชุมชนสำหรับวิทยาศาสตร์สุขภาพ (1 หน่วยกิต)
- วิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ (2 หน่วยกิต)
3. ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการคลินิก (6 หน่วยกิต) ประกอบด้วย
- ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการคลินิก 1 (2 หน่วยกิต)
- ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการคลินิก 2 (2 หน่วยกิต)
- ปฏิบัติงานห้องปฏิบัติการคลินิก 3 (2 หน่วยกิต)
4. รายวิชาโทอณูชีววิทยา (15 หน่วยกิต) ประกอบด้วย
- พันธุศาสตร์ทางการแพทย์ (2 หน่วยกิต)
- อณูชีววิทยาเบื้องต้น (2 หน่วยกิต)
- ปฏิบัติการอณูชีววิทยาเบื้องต้น (2 หน่วยกิต)
- อณูชีววิทยาประยุกต์ (3 หน่วยกิต)
- ชีวสารสนเทศสำหรับสหเวชศาสตร์ (2 หน่วยกิต)
- วารสารสโมสรทางอณูชีววิทยา (1 หน่วยกิต)
- การวินิจฉัยทางอณูชีววิทยาสำหรับห้องปฏิบัติการทางการแพทย์ (3 หน่วยกิต)